เขียนรายการหลักฐานและตัวอย่าง ถ้าเรามีหลักฐานสนับสนุนมาก เราก็สามารถนำหลักฐานเหล่านั้นมาเรียงลำดับตามความหนักแน่นได้
(แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง)
เหนือกว่าหน้าที่คือสิ่งที่อยู่เบื้องหลัง เรากำลังเขียนงานๆ นี้ให้ใคร คนที่เราต้องการจะสื่อเนื้อความในตัวอักษรไปหาคือคนกลุ่มไหนเป็นหลัก
ใส่ส่วนเพิ่มเติม. เราช่วยผู้อ่านให้เข้าใจหัวข้อชัดเจนขึ้นได้ด้วยการใส่ภาพหรือส่วนเพิ่มเติมอื่นๆ ลงในบทความ ตัวอย่างเช่น เราอาจเพิ่มรูปถ่าย แผนภูมิ หรืออินโฟกราฟิกเพื่อแสดงให้เห็นประเด็นของเราบางประเด็น
ให้ใครสักคนอ่านบทความของเรา. ลองให้เพื่อน คุณครู หรือคนที่เราไว้ใจอ่านบทความของเรา คนคนนี้เข้าใจประเด็นที่เราต้องการจะบอกไหม เขาตามเหตุผลของเราทันหรือเปล่า
เพิ่มเอกลักษณ์เฉพาะตัว. เมื่อตัดสินใจเรื่องหัวข้อและทำให้หัวข้อนั้นแคบลงจนได้อะไรที่เฉพาะเจาะจงแล้ว ลองคิดสิว่าจะทำอย่างไรให้บทความนี้โดดเด่น ถ้าหากเราเขียนเกี่ยวกับเรื่องบางอย่างที่คนอื่นก็เขียนด้วยเช่นกัน พยายามทำให้บทความของเรามีความพิเศษ อาจเพิ่มบทสนทนาเข้าไปในบทความด้วยก็ได้
ตรงตามชื่อเลยว่า มุมคิดดี ๆ เรื่องนี้ก็เป็นอีกหนึ่งบทความที่นำเสนอมุมมอง ทัศนคติให้เรา ซึ่งมันเกี่ยวอะไรกับบันไดหนีไฟนั้น คงต้องอ่านกันดู
ตัวอย่างเช่น ถ้าเราเขียนเรื่องอาหารออร์แกนิก เราอาจเน้นประเด็นที่ว่าผู้ซื้อไม่มีความรู้ความเข้าใจในฉลากออร์แกนิกซึ่งติดไว้ที่บรรจุภัณฑ์ บทความ ใช้เรื่องนี้เปิดไปสู่ประเด็นหลักของเรา หรือ “ย่อหน้าสำคัญ” ซึ่งสรุปแนวคิดสำคัญหรือมุมมองของเรา
คำถามและคำตอบ — เช่นบทสัมภาษณ์ของผู้มีชื่อเสียงหรือผู้เชี่ยวชาญ
จะเกิดอะไรขึ้นบ้างกับก้นมหาสมุทร เมื่อซากเรือไททานิกกำลังผุกร่อน ?
"การยอมรับ - ทำไมต้องรับ" กับผลลัพธ์ที่แตกต่าง
การพรรณนาฉากหรือเหตุการณ์ต่อจากนี้
คำนึงถึงผู้อ่าน. คิดสิว่าใครจะเป็นคนอ่านบทความนี้ เราจะต้องคำนึงถึงระดับของผู้อ่าน ความสนใจ ความคาดหวัง และปัจจัยอื่นๆ
แล้วเขาก็หลบไปแอบดูว่าใครจะย้ายมันออกไปบ้าง มีพ่อค้าและข้าราชบริพานก็ได้ดูรอบๆ